ต้นฉบับ ของ โยชูวา 6

บทนี้เดิมเขียนด้วยภาษาฮีบรู แบ่งออกเป็น 27 วรรค

พยานต้นฉบับ

บางต้นฉบับในยุคต้นที่มีข้อความของบทนี้เป็นภาษาฮีบรูเป็น Masoretic Text ได้แก่ Codex Cairensis (ค.ศ. 895), Aleppo Codex (ศตวรรษที่ 10) และ Codex Leningradensis (ค.ศ. 1008)[7] ชิ้นส่วนที่มีข้อความบางส่วนของบทนี้ในภาษาฮีบรูถูกพบในม้วนหนังสือเดดซี ได้แก่ 4Q48 (4QJoshb; 100–50 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งมีวรรค 5-10 หลงเหลืออยู่[8][9][10][11]

ต้นฉบับโบราณที่หลงเหลืออยู่ของคำแปลเป็นภาษากรีกคอยนีที่รู้จักในชื่อเซปทัวจินต์ (ทำขึ้นในช่วงไม่กี่ศตวรรษสุดท้ายก่อนคริสตกาล) ได้แก่ Codex Vaticanus (B; G {\displaystyle {\mathfrak {G}}} B; ศตวรรษที่ 4) และ Codex Alexandrinus (A; G {\displaystyle {\mathfrak {G}}} A; ศตวรรษที่ 5)[12][lower-alpha 1]

ชิ้นส่วนของเซปทัวจินต์ภาษากรีกที่มีบทนี้ถูกพบในต้นฉบับอย่าง Washington Manuscript I (คริสต์ศตวรรษที่ 5) และพบฉบับย่อของเซปทัวจินต์ในม้วนโยชูวาที่มีภาพประกอบ[14][15][16]

ใกล้เคียง

แหล่งที่มา

WikiPedia: โยชูวา 6 https://www.haaretz.com/jewish/.premium-who-wrote-... https://thewaytoyahuweh.com/dead-sea-scrolls/gener... https://www.deadseascrolls.org.il/explore-the-arch... https://www.helsinki.fi/en/news/language-culture/d... https://doi.org/10.1080%2F09018320210000329 https://api.semanticscholar.org/CorpusID:161116376 http://www.library.arizona.edu/exhibits/illuman/9-... https://web.archive.org/web/20120213003229/http://... https://books.google.com/books?id=HmpMPgAACAAJ https://books.google.com/books?id=McF5zQEACAAJ